ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานช่าง
ในการปฏิบัติงานในงานช่างสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องนึกถึงอยู่เสมอนั่นก็คือ ความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงาน (Safety First) ถึงแม้ว่ามีความระมัดระวังสักเพียงใด อุบัติเหตุก็มักเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาในการเรียนภาคปฏิบัติวิชางานช่างจึงควรมีการส่งเสริม ระบบการทำงานให้ถูกต้องตามกระบวนการและทักษะทางด้านงานช่างต่างๆ ตระหนักถึงเรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการทำงาน รวมไปถึงการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เพื่อเป็นการสร้างนิสัยแห่งการรักษาความปลอดภัย (Safety Habit) แก่นักเรียนทุกคน หรืออาจเกิดอันตรายแก่ร่างกายถึงพิการหรือเสียชีวิตได้ หากทุกคนรู้จักวิธีการทำงาน วิธีใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ด้วยความถูกต้อง เหมาะสมกับงาน และไม่ประมาทจะช่วยลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุได้เป็นอย่างดีเพราะเครื่องมือทุกชนิดถึงแม้จะออกแบบมาอย่างเหมาะสม แต่ก็อาจมีอุบัติเหตุที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นได้เสมอเพราะฉะนั้นในการปฏิบัติงานให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด ควรปฏิบัติตามหลักความปลอดภัย และดูแลความเรียบร้อยของโต๊ะปฏิบัติงานทุกครั้งหลังเลิกใช้งาน
การสวมใส่เครื่องแต่งกายให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน มีดังนี้
ขณะปฏิบัติงานไม่ควรสวมเครื่องประดับต่างๆ เช่น แหวน นาฬิกา สร้อย เป็นต้น
ขณะปฏิบัติงานควรสวมเสื้อผ้าที่รัดกุม และสวนผ้าปิดหน้าอกทุกครั้งขณะปฏิบัติงาน
ขณะปฏิบัติงานในโรงงานควรสวมรองเท้าที่ใช้สำหรับปฏิบัติงานนั้นๆ ไม่ควรสวมรองเท้าแตะหรือ รองเท้าฟองน้ำ เพื่อป้องกันการเกิดอันตราย
เนื่องจากผู้รับเหมา หรือผู้ที่ทำงานอยู่ในวงการก่อสร้างบางคนเรียกชื่อเหล็กเส้นแต่ละชนิดแตกต่างกันตามความถนัด และความเคยชินของแต่ละคน หนึ่งในนั้นคือการเรียกเหล็กเส้น เป็นหุน
ขนาด 1 นิ้ว ของไม้บรรทัด หากเทียบเป็นเซนติเมตร จะยาวเท่ากับ 25 มิลลิเมตร หรือ 2.50 เซนติเมตร (ตัวเลขที่ถูกต้องสำหรับวิศวกรใช้คือ 2.54 เซนติเมตร)
ความยาว 1 นิ้ว ของไม้บรรทัด สามารถแปลงเป็นหน่วยเซนติเมตรได้เท่ากับ 25 มิลลิเมตร หรือ 2.50 เซนติเมตร (ความยาวที่ถูกต้องสำหรับวิศวกร คือ 2.54 เซนติเมตร)
ในความยาว 1 นิ้ว สามารถแบ่งได้เป็น 8 ช่อง ซึ่ง เรียกว่า 8 หุน
หาก 1 หุน จึงต้องประมาณเท่ากับ 25/8 = 3.13 มิลลิเมตร
ดังนั้น เราสามารถเปลี่ยนจากมิลลิเมตรเป็นหุนได้ตามนี้
เหล็กRB 6 มิลลิเมตร จึงเท่ากับ เหล็ก 2 หุน (1/4 นิ้ว)
เหล็กRB 9 มิลลิเมตร จึงเท่ากับ เหล็ก 3 หุน (3/8 นิ้ว)
เหล็ก DB 12 มิลลิเมตร จึงเท่ากับ เหล็ก 2 หุน (1/2 นิ้ว)
เหล็ก DB16 มิลลิเมตร จึงเท่ากับ เหล็ก 5 หุน (5/8 นิ้ว)
เหล็กDB 20 มิลลิเมตร จึงเท่ากับ เหล็ก 6 หุน (3/4 นิ้ว)
เหล็กDB 25 มิลลิเมตร จึงเท่ากับ เหล็กนิ้ว (1 นิ้ว)
หลังจากนี้ถ้าหากใครได้ยินคนเรียก เหล็กข้ออ้อย เหล็กเส้นกลมเป็นหุน นิ้ว และมิลลิเมตร ก็คงจะทราบกันแล้วว่าคือขนาดเท่าไรบ้าง
เมื่อเราเลือกได้เหมาะสมกับการใช้งาน จึงนับเป็นการเลือกซื้อแอร์ได้ถูกต้อง และใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ คุ้มค่ากับการใช้งานมากที่สุด